วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2553
สัปดาห์ที่ 14 เรื่อง30ทิปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
30ทิปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1. ในขณะที่คุณกำลังจะ Restart เครื่องใหม่ ก่อนที่จะกดปุ่ม OK ให้คุณกด Shift ค้างไว้ จะทำให้คุณ Restart ได้เร็วขึ้น
2. ในบาง Web Site หากคุณกด Ctrl ค้างไว้ และเลื่อน Scroll ที่ Mouse จะทำให้ตัวอักษรของ Web Site นั้นใหญ่ขึ้น
3. หากกดปุ่ม Refresh หรือ F5 แล้วยังเป็นข้อมูลเดิม ลองกด Ctrl + F5 รับรองจะได้ข้อมูลที่ใหม่ล่าสุดแน่ๆ
4. คุณสามารถเปิดไฟล์ Tips.txt ขึ้นมาเพื่ออ่านเทคนิคต่างๆ ได้ ซึ่งไฟล์นี้จะอยู่ใน c:windows ของคุณ
5. ในระหว่างที่คุณกำหลังใช้งาน IE อยู่นั้น สามารถกดปุ่ม F4 เพื่อเป็นการเปิดดู URL List ในช่อง Address ได้เลย
6. การกดปุ่ม Esc ระหว่างการใช้ IE จะทำให้ IE ของคุณนั้นหยุดโหลดได้ โดยที่ไม่ต้องกดปุ่ม Stop
7. ระหว่างการใช้ IE สามารถกดปุ่ม Alt + D หรือ Ctrl + Tab เพื่อเข้า Address bar อย่างเร็วได้
8. คุณสามารถเพิ่มความเร็วให้กับ Internet ได้โดยทำการถอดสายเครื่องโทรศัพท์ ที่มีการต่อพ่วงอยู่กับสายที่ใช้ต่อ Internet ออก
9. คุณสามารถ ไปที่ Start -> Run และพิมพ์ว่า welcome กด Enter เพื่อเปิดหน้าต่างต้อนรับของ Windows ได้
10. ที่ Notepad หรือ ICQ หากคุณลืมเปลี่ยน Mode ภาษา ให้กดปุ่ม Ctrl + Back Space เพื่อแก้คำที่พิมพ์ผิดไปแล้ว
11. คุณสามารถ เปิด Folder Desktop อย่างรวดเร็ว โดย Start -> Run พิมพ์จุด (.) ลงไปแล้วกด Enter 12. ใน IE สามารถกด Space Bar เพื่อนเลื่อนหน้า Page ลงได้ ส่วนเลื่อนขึ้นคือ Shift + Space Bar
13. ใน Windows คุณไม่สามารถ สร้าง Folder ที่ชื่อ "con" ได้
14. ใน IE ที่ช่อง Address ปุ่ม Ctrl+Enter สามารถช่วยคุณ ในการพิมพ์ URL ได้เร็วยิ่งขึ้น
15. การกด Ctrl ค้างเอาไว้ ตอนเวลา BOOT เครื่อง จะทำให้คุณไม่พลาด Startup Menu
16. คุณสามารถปิดนาฬิกาที่ Taskbar ได้ โดยคลิกขวาที่ Task bar > Properties > เอาเครื่องหมาย Show Click ออก
17. หากคุณกด F11 ใน Windows Explorer จะช่วยให้มีการทำงานที่สะดวกขึ้น
18. ใน ICQ การส่ง Message หากคุณกด Ctrl+Enter จะสะดวก กว่าการ Click Mouse ที่ปุ่ม send
19. คุณสามารถกด F2 เพื่อ ใช้ในการเปลี่ยนชื่อ Icon ต่างๆ ได้
20.การกด F5 ใน NotePad จะเป็นการแทรก เวลา และวันที่ ปัจจุบัน
21. การกด Windows + E จะเป็นเปิด Windows Explorer ขึ้นมา
22. เปิด System Properties อย่างรวดเร็วคือการกด Window + Pause Break
23. การย่อยทุกๆ หน้าต่างที่เปิดใช้งาน ให้ยุบไปให้หมด คือการกด Window + D ถ้าจะขยายคืนมาอีก ให้กดซ้ำ
24. การเคาะวรรคในโปรแกรม Dreamweaver คือ Shift + Ctrl + Space Bar ส่วนการเว้นบรรทัดคือ Shift + Enter
25. การลบไฟล์แบบ ไม่เก็บไว้ใน Recycle Bin คือการกด Shift + Delete
26. การกด Shift ค้างไว้ เวลาใส่แผ่น CD-Rom จะเป็นการไม่ให้มันเปิด Autorun ของแผ่น CD-Rom นั้นขึ้นมา
27. การ Restart เครื่องอย่างเร็ว คือไปที่ Start -> Shut Down... -> Restart จากนั้น ก่อนที่จะ OK ให้กด Shift ค้างเอาไว้
28. ในระหว่างใช้ Browser คุณสามารถกดปุ่ม Space Bar เพื่อเลื่อนหน้าลง และ Shift + Space Bar เพื่อนเลื่อนหน้าขึ้นได้
29. กด Shift + คลิก จะเป็นการเปิดหน้าต่างขึ้นมาใหม่ โดยไม่ต้อง back กลับ
30. คุณสามารถ ไปที่ Start -> Run และพิมพ์ว่า hwinfo /ui กด Enter เพื่อดูรายงานต่างๆ ของ HardWare"
วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2553
วิธีปิดเครื่องอัตโนมัติ
หากต้องเปิดเครื่องทิ้งไว้ อยากตั้งเวลาปิดเครื่องอัตโนมัติ หากเราจำเป็นต้องเปิดเครื่องไว้ เพราะ
กำลังรันโปรแกรมบางอย่างอยู่ และอีกหลายชั่วโมงกว่าจะเสร็จ เราสามารถสั่งให้เครื่องปิด
ตัวเองอัตโนมัติได้ โดยใช้เครื่องมือ Scheduled Task ช่วย ดังนี้ครับ
เลือกเมนู All Programs>Accessories>System Tools>Scheduled Task เพื่อเปิดหน้าต่าง
Scheduled Task ขึ้นมาครับ จากนั้นดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Scheduled Task เพื่อสร้างตารางงานใหม่
สิ่งที่เราต้องรู้ในที่นี้ก็คือ ไฟล์คำสั่งที่ใช้สำหรับการปิดเครื่อง ซึ่งก็คือไฟล์ Shutdown.exe อยู่ใน
โฟลเดอร์ System32 ภายใต้โฟลเดอร์ Window ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม Browse และเลือก
ไฟล์คำสั่ง shutdown.exe ซึ่งเป็นคำสั่งเพื่อปิดระบบคับ
จากนั้นเป็นขั้นตอนการกำหนดช่วงเวลา ที่จะให้ปิดเครื่อง ในที่นี้เลือก Diary คือภายในวันนี้
และเข้าไปกำหนดเวลาเจาะจง ก็เป็นอันจบขั้นตอนแล้วครับ
หลังจากนั้น เราสามารถเปิดเครื่องให้ทำงานทิ้งไว้ และเมื่อถึงเวลาที่กำหนดไว้ คอมพิวเตอร์
ก็จะปิด (Shut down) ลงโดยอัตโนมัติครับมี Tip เล็กๆ น้อยสำหรับการปิดเครื่องครับ คือ ปุ่ม Power กับปุ่ม Sleep บนคีย์บอร์ด เราสามารถกำหนดเพื่อให้เป็นการสั่งปิดเครื่อง (Turn Off) หรือเข้าสู่โหมด Stand By ได้ครับ โดย ปุ่ม Power เหมือนสั่ง Shutdown เครื่อง คือปิดการทำงานของ Windows และดับเครื่องลง ส่วนปุ่ม Sleep : เหมือนสั่ง Stand By คือ หยุดพักเครื่องชั่วคราว เพื่อเข้าสู่โหมดประหยัดพลังงาน โดยสามารถกลับเข้าทำงานได้ด้วยการเคลื่อนเมาส์ หรือกดปุ่มคีย์บอร์ดนั่นเอง
กำลังรันโปรแกรมบางอย่างอยู่ และอีกหลายชั่วโมงกว่าจะเสร็จ เราสามารถสั่งให้เครื่องปิด
ตัวเองอัตโนมัติได้ โดยใช้เครื่องมือ Scheduled Task ช่วย ดังนี้ครับ
เลือกเมนู All Programs>Accessories>System Tools>Scheduled Task เพื่อเปิดหน้าต่าง
Scheduled Task ขึ้นมาครับ จากนั้นดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Scheduled Task เพื่อสร้างตารางงานใหม่
สิ่งที่เราต้องรู้ในที่นี้ก็คือ ไฟล์คำสั่งที่ใช้สำหรับการปิดเครื่อง ซึ่งก็คือไฟล์ Shutdown.exe อยู่ใน
โฟลเดอร์ System32 ภายใต้โฟลเดอร์ Window ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม Browse และเลือก
ไฟล์คำสั่ง shutdown.exe ซึ่งเป็นคำสั่งเพื่อปิดระบบคับ
จากนั้นเป็นขั้นตอนการกำหนดช่วงเวลา ที่จะให้ปิดเครื่อง ในที่นี้เลือก Diary คือภายในวันนี้
และเข้าไปกำหนดเวลาเจาะจง ก็เป็นอันจบขั้นตอนแล้วครับ
หลังจากนั้น เราสามารถเปิดเครื่องให้ทำงานทิ้งไว้ และเมื่อถึงเวลาที่กำหนดไว้ คอมพิวเตอร์
ก็จะปิด (Shut down) ลงโดยอัตโนมัติครับมี Tip เล็กๆ น้อยสำหรับการปิดเครื่องครับ คือ ปุ่ม Power กับปุ่ม Sleep บนคีย์บอร์ด เราสามารถกำหนดเพื่อให้เป็นการสั่งปิดเครื่อง (Turn Off) หรือเข้าสู่โหมด Stand By ได้ครับ โดย ปุ่ม Power เหมือนสั่ง Shutdown เครื่อง คือปิดการทำงานของ Windows และดับเครื่องลง ส่วนปุ่ม Sleep : เหมือนสั่ง Stand By คือ หยุดพักเครื่องชั่วคราว เพื่อเข้าสู่โหมดประหยัดพลังงาน โดยสามารถกลับเข้าทำงานได้ด้วยการเคลื่อนเมาส์ หรือกดปุ่มคีย์บอร์ดนั่นเอง
วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2553
Monitor
Monitor
Monitor คือส่วนที่จะแสดงผลลัพธ์หรือเอ้าท์พุท จากการทำงานของคอมพิวเตอร์ออกมาทางจอภาพให้เราได้เห็นกันโดย Monitor จะมีสายสัญญาณเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์โดยตรง
ส่วนสำคัญที่ทำให้ภาพมาปรากฏบนจอภาพได้คือสิ่งที่เราเรียกว่า ซีอาร์ที(Cathode-ray-tube หรือ หลอดคาโธด-เร)
หลอดคาโธด-เร นั้นเป็นหลอดสูญญากาศ ประกอบด้วยปืนอิเล็คตรอน(Electronic gun) กระบอกเดียวหรือหลายกระบอกสำหรับเอาไว้ยิงอิเล็คตรอนออกมาเพื่อทำให้เกิดลำแสงซึ่งกวาดไปบนจอภาพข้างหนึ่งไปสู่อีกข้างหนึ่ง
จอภาพนั้นเคลือบด้วยสารเรืองแสงชนิดหนึ่ง เมื่อมีลำแสงอิเล็คตรอนมากระทบสารชนิดนี้จะเกิดแสงขึ้นมา
จอภาพหลายสีซึ่งเราเรียกว่า จอสี นั้นจะมีปืนอิเล็คตรอนอยู่ 3 กระบอก ปืนแต่ละกระบอกจะยิงอิเล็คตรอนเทื่อมากระตุ้นให้สารที่เคลือบจอภาพอยู่เรียงแสงสีที่แตกต่างกันออกไป
ได้แก่กระบอกหนึ่งจะทำให้สารเคลือบเรืองแสงสีแดง อีกกระบอกหนึ่งจะทำให้ สารเคลือบเรืองแสงสีเขียว และ อีกกระบอกหนึ่งจะทำให้สารเคลือบเรืองแสงน้ำเงิน สารที่เคลือบจอภาพอยู่เรืองแสงสีที่แตกต่างกันออกไป
แสงที่เกิดขึ้นบนจอภาพทั้ง 3 สี คือ แดง เขียว และน้ำเงิน จะกวาดตั้งแต่ทางด้านซ้ายมือไปทางด้านขวามือ และจะกวาดตั้งแต่ทางด้านบนลงมาทางด้านล่างของจอภาพ
ลำแสงที่ยิงออกมาจากปืนอิเล็คตรอนนี้จะถูกทำให้หักเหโดยส่วนที่เรียกว่า โยค(Yoke) ซึ่งอยู่ตรงคอของหลอดภาพ
ในขณะที่ลำแสงถูกยิงจากปืนอิเล็คตรอนเพื่อให้ไปกระทบกับสารเรืองแสงบนจอภาพนั้น สารเรืองแสงเหล่านั้นมีลักษณะเป็นจุดๆๆๆเล็กๆเรียงกันเป็นแถว เรียกว่า Pixel (พิกเซล)
ตามปกติจำนวน pixel นี้จะมีมากหรือน้อยขนาดไหน ขึ้นอยู่กับคุณภาพของจอภาพหรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่า จอภาพจะมีคุณภาพดีเพียงใดขึ้นอยู่กับจำนวน (Pixel) ถ้าจอภาพมีจำนวนพิกเซลมาก หนาแน่ ภาพที่ได้ก็จะคมชัด
Pixel (พิกเซล) คือส่วนที่เล็กที่สุดบนจอภาพที่สามารถควบคุมได้ จอภาพยิ่งมีจำนวนพิกเซลมาก ภาพก็ยิ่งมีความคมชัดมาก
จอภาพที่มีพิกเซล 640 x 480 pixel หมายความว่า บนจอภาพนั้นมีพิกเซลตามนอน 640 และมีพิกเซลตามแนวตั้ง480 พิกเซล
การที่จอภาพแต่ละจอมีจำนวน pixel หรือจุดแสง มากน้อยแตกต่างกันนี้ ทำให้คุณภาพของภาพ หรือตัวอักษรที่ปรากฏ บนจอภาพนั้นมีความชัดเจน หรือไม่ชัดเจนแตกต่างกัน
การที่มีจำนวนจุดมาก หรือน้อยบนจอภาพนั้น เขาเรียกว่า รีโซลูชั่น (resolution)
รีโซลูชั่น หมายถึง จำนวนจุดที่เรียงกันไปตามแนวนอน คูณกับจำนวนจุดที่เรียงกันลงไปทางตั้ง เช่น จอภาพประเภท high resolution อาจจะมี pixel (จุดแสง) ที่เรียงลำดับกันตามแนวนอน 640 จุด และเรียงกันอยู่ในทางตั้ง 800 จุด
ส่วนจอภาพบางประเภทอาจมีรีโซลูชั่นที่ต่ำ หรือ Low Resolotion คือมีจุดภาพทางแนวนอน 80 จุด และจุภาพทางแนวตั้ง เพียง 100 จุด เส้นภาพที่ออกมาทางจอภาพก็จะแลเห็นเป็นหยักๆ ไม่ราบเรียบ เป็นต้น
ถ้าเราแบ่งชนิดของจอภาพ โดยใช่จำนวนพิกเซล (Pixel) เป็นเกณฑ์แล้วเราก็จะได้จอภาพหลายชนิด จอภาพแต่ละชนิดก็ให้ ภาพและตัวอักษรบนจอภาพที่มีคุณภาพแตกต่างกันออกไป เช่น
จอภาพโมโนโครม (Monochrome) เป็นจอภาพสีเดียว มักมีสีเขียว เหลืองอำพันหรือขาวบนพื้นจอภาพสีดำ รีโซลูชั่นหรือจอภาพแบบโมโนโครม มักมี 640 x 350 พิกเซล
จอภาพสี CGA มาจากคำว่า Color Graphic Adapter เป็นจอภาพสีชนิดมี รีโซลูชั่นต่ำเพราะมีสีเพียงไม่กี่สี
จอภาพ EGA ย่อมาจากคำว่า Enhanced Graphic Adapter เป็นจอภาพสีชนิดมีคุณภาพสีดีขึ้น มีรีโซลูชั่น สูงขึ้น และมีสีมากขึ้นด้วย
จอภาพ VGA ย่อมาจากคำว่า Video Graphic Array เป็นจอภาพที่มีคุณภาพดีมากมี รีโซลูชั่นสูง
จอภาพแบบซูเปอร์วีจีเอ (Super VGA) เป็นจอภาพที่มีคุณภาพเหนือกว่า จอภาพ VGA และราคาแพงกว่าด้วย ในปัจจุบัน จอภาพทีใช้กันจะเป็นแบบ Super VGA ที่มีคุณภาพดีที่สุดในขณะนี้
Monitor คือส่วนที่จะแสดงผลลัพธ์หรือเอ้าท์พุท จากการทำงานของคอมพิวเตอร์ออกมาทางจอภาพให้เราได้เห็นกันโดย Monitor จะมีสายสัญญาณเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์โดยตรง
ส่วนสำคัญที่ทำให้ภาพมาปรากฏบนจอภาพได้คือสิ่งที่เราเรียกว่า ซีอาร์ที(Cathode-ray-tube หรือ หลอดคาโธด-เร)
หลอดคาโธด-เร นั้นเป็นหลอดสูญญากาศ ประกอบด้วยปืนอิเล็คตรอน(Electronic gun) กระบอกเดียวหรือหลายกระบอกสำหรับเอาไว้ยิงอิเล็คตรอนออกมาเพื่อทำให้เกิดลำแสงซึ่งกวาดไปบนจอภาพข้างหนึ่งไปสู่อีกข้างหนึ่ง
จอภาพนั้นเคลือบด้วยสารเรืองแสงชนิดหนึ่ง เมื่อมีลำแสงอิเล็คตรอนมากระทบสารชนิดนี้จะเกิดแสงขึ้นมา
จอภาพหลายสีซึ่งเราเรียกว่า จอสี นั้นจะมีปืนอิเล็คตรอนอยู่ 3 กระบอก ปืนแต่ละกระบอกจะยิงอิเล็คตรอนเทื่อมากระตุ้นให้สารที่เคลือบจอภาพอยู่เรียงแสงสีที่แตกต่างกันออกไป
ได้แก่กระบอกหนึ่งจะทำให้สารเคลือบเรืองแสงสีแดง อีกกระบอกหนึ่งจะทำให้ สารเคลือบเรืองแสงสีเขียว และ อีกกระบอกหนึ่งจะทำให้สารเคลือบเรืองแสงน้ำเงิน สารที่เคลือบจอภาพอยู่เรืองแสงสีที่แตกต่างกันออกไป
แสงที่เกิดขึ้นบนจอภาพทั้ง 3 สี คือ แดง เขียว และน้ำเงิน จะกวาดตั้งแต่ทางด้านซ้ายมือไปทางด้านขวามือ และจะกวาดตั้งแต่ทางด้านบนลงมาทางด้านล่างของจอภาพ
ลำแสงที่ยิงออกมาจากปืนอิเล็คตรอนนี้จะถูกทำให้หักเหโดยส่วนที่เรียกว่า โยค(Yoke) ซึ่งอยู่ตรงคอของหลอดภาพ
ในขณะที่ลำแสงถูกยิงจากปืนอิเล็คตรอนเพื่อให้ไปกระทบกับสารเรืองแสงบนจอภาพนั้น สารเรืองแสงเหล่านั้นมีลักษณะเป็นจุดๆๆๆเล็กๆเรียงกันเป็นแถว เรียกว่า Pixel (พิกเซล)
ตามปกติจำนวน pixel นี้จะมีมากหรือน้อยขนาดไหน ขึ้นอยู่กับคุณภาพของจอภาพหรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่า จอภาพจะมีคุณภาพดีเพียงใดขึ้นอยู่กับจำนวน (Pixel) ถ้าจอภาพมีจำนวนพิกเซลมาก หนาแน่ ภาพที่ได้ก็จะคมชัด
Pixel (พิกเซล) คือส่วนที่เล็กที่สุดบนจอภาพที่สามารถควบคุมได้ จอภาพยิ่งมีจำนวนพิกเซลมาก ภาพก็ยิ่งมีความคมชัดมาก
จอภาพที่มีพิกเซล 640 x 480 pixel หมายความว่า บนจอภาพนั้นมีพิกเซลตามนอน 640 และมีพิกเซลตามแนวตั้ง480 พิกเซล
การที่จอภาพแต่ละจอมีจำนวน pixel หรือจุดแสง มากน้อยแตกต่างกันนี้ ทำให้คุณภาพของภาพ หรือตัวอักษรที่ปรากฏ บนจอภาพนั้นมีความชัดเจน หรือไม่ชัดเจนแตกต่างกัน
การที่มีจำนวนจุดมาก หรือน้อยบนจอภาพนั้น เขาเรียกว่า รีโซลูชั่น (resolution)
รีโซลูชั่น หมายถึง จำนวนจุดที่เรียงกันไปตามแนวนอน คูณกับจำนวนจุดที่เรียงกันลงไปทางตั้ง เช่น จอภาพประเภท high resolution อาจจะมี pixel (จุดแสง) ที่เรียงลำดับกันตามแนวนอน 640 จุด และเรียงกันอยู่ในทางตั้ง 800 จุด
ส่วนจอภาพบางประเภทอาจมีรีโซลูชั่นที่ต่ำ หรือ Low Resolotion คือมีจุดภาพทางแนวนอน 80 จุด และจุภาพทางแนวตั้ง เพียง 100 จุด เส้นภาพที่ออกมาทางจอภาพก็จะแลเห็นเป็นหยักๆ ไม่ราบเรียบ เป็นต้น
ถ้าเราแบ่งชนิดของจอภาพ โดยใช่จำนวนพิกเซล (Pixel) เป็นเกณฑ์แล้วเราก็จะได้จอภาพหลายชนิด จอภาพแต่ละชนิดก็ให้ ภาพและตัวอักษรบนจอภาพที่มีคุณภาพแตกต่างกันออกไป เช่น
จอภาพโมโนโครม (Monochrome) เป็นจอภาพสีเดียว มักมีสีเขียว เหลืองอำพันหรือขาวบนพื้นจอภาพสีดำ รีโซลูชั่นหรือจอภาพแบบโมโนโครม มักมี 640 x 350 พิกเซล
จอภาพสี CGA มาจากคำว่า Color Graphic Adapter เป็นจอภาพสีชนิดมี รีโซลูชั่นต่ำเพราะมีสีเพียงไม่กี่สี
จอภาพ EGA ย่อมาจากคำว่า Enhanced Graphic Adapter เป็นจอภาพสีชนิดมีคุณภาพสีดีขึ้น มีรีโซลูชั่น สูงขึ้น และมีสีมากขึ้นด้วย
จอภาพ VGA ย่อมาจากคำว่า Video Graphic Array เป็นจอภาพที่มีคุณภาพดีมากมี รีโซลูชั่นสูง
จอภาพแบบซูเปอร์วีจีเอ (Super VGA) เป็นจอภาพที่มีคุณภาพเหนือกว่า จอภาพ VGA และราคาแพงกว่าด้วย ในปัจจุบัน จอภาพทีใช้กันจะเป็นแบบ Super VGA ที่มีคุณภาพดีที่สุดในขณะนี้
เมาส์
เมาส์คืออะไร
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับชี้พิกัดบนหน้าจอว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต้องการเลือกทำงานบนตำแหน่งใดๆ ที่ปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ตัวนี้ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น (สำนักงานศาลยุติธรรม สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ 2549)
เมาส์ (mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการใช้งานในคอมพิวเตอร์ชิ้นหนึ่ง ซึ่งออกแบบเพื่อให้พอดีกับการใช้งานโดยส่วนโค้งและส่วนเว้าโค้งเข้าตามกับอุ้งมือของผู้ใช้ โดยภายด้านใต้ของเมาส์จะมีอุปกรณ์ซึ่งตรวจจับการเคลื่อนไหวของเมาส์ โดยส่งสัญญาณไปที่คอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของเคอร์เซอร์ (cursor) บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัวมันเอง และสายไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายหนูและหางหนู และขณะเดียวกันการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์ (cursor) บนหน้าจอมีลักษณะการเคลื่อนที่ไม่มีทิศทางเหมือนการเคลื่อนที่ของหนู (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549)
เมาส์ (Mouse) หรือ "หนูอิเล็กทรอนิกส์" เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายหนู มีสายต่ออยู่ที่ปลายลักษณะเดียวกับหางหนู เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่าขณะนี้กำลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกว่า ตัวชี้ตำแหน่ง (Pointer) ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับทิศทางบนคีย์บอร์ด (keyboard) (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 2549)
เมาส์ เป็นอุปกรณ์พื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ นำเข้าข้อมูลโดยการเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับตัวชี้ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ บนหน้าจอและทำการคลิก (click) หรือ ดับเบิลคลิก (double click) (สุขุม เฉลยทรัพย์ 2547 : 61)
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับชี้พิกัดบนหน้าจอว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต้องการเลือกทำงานบนตำแหน่งใดๆ ที่ปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ตัวนี้ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น (สำนักงานศาลยุติธรรม สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ 2549)
เมาส์ (mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการใช้งานในคอมพิวเตอร์ชิ้นหนึ่ง ซึ่งออกแบบเพื่อให้พอดีกับการใช้งานโดยส่วนโค้งและส่วนเว้าโค้งเข้าตามกับอุ้งมือของผู้ใช้ โดยภายด้านใต้ของเมาส์จะมีอุปกรณ์ซึ่งตรวจจับการเคลื่อนไหวของเมาส์ โดยส่งสัญญาณไปที่คอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของเคอร์เซอร์ (cursor) บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัวมันเอง และสายไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายหนูและหางหนู และขณะเดียวกันการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์ (cursor) บนหน้าจอมีลักษณะการเคลื่อนที่ไม่มีทิศทางเหมือนการเคลื่อนที่ของหนู (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549)
เมาส์ (Mouse) หรือ "หนูอิเล็กทรอนิกส์" เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายหนู มีสายต่ออยู่ที่ปลายลักษณะเดียวกับหางหนู เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่าขณะนี้กำลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกว่า ตัวชี้ตำแหน่ง (Pointer) ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับทิศทางบนคีย์บอร์ด (keyboard) (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 2549)
เมาส์ เป็นอุปกรณ์พื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ นำเข้าข้อมูลโดยการเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับตัวชี้ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ บนหน้าจอและทำการคลิก (click) หรือ ดับเบิลคลิก (double click) (สุขุม เฉลยทรัพย์ 2547 : 61)
Mainboard
Mainboard (แผงวงจรหลัก)
เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ ประกอบด้วย
1. ชุดชิพเซ็ต
ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บนเมนบอร์ดสามารถทำงานร่วมกันได้ และทำหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำงานได้ตามต้องการ โดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบด้วยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปด้วยชิพ 2 ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI to ISA Bridge
ชิพ System Controller หรือ AGPSET หรือ North Bridge เป็นชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อุปกรณ์หลักๆ ความเร็วสูงชนิดต่างๆ บนเมนบอร์ดที่ประกอบด้วยซีพียู หน่วยความจำแคชระดับสอง (SRAM) หน่วยความจำหลัก (DRAM) ระบบกราฟิกบัสแบบ AGP และระบบบัสแบบ PCI
ชิพ PCI to ISA Bridge หรือ South Bridge จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกันระหว่างระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเร็วในการทำงานต่ำกว่าเช่นระบบบัสแบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำรอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน
ชุดชิพเซ็ตจะมีอยู่ด้วยกันหลายรุ่นหลายยี่ห้อโดยลักษณะการใช้งานจะขึ้นอยู่กับซีพียูที่ใชเป็นหลัก เช่นชุด ชิพเซ็ตตระกูล 430 ของอินเทลเช่นชิพเซ็ต 430FX, 430HX 430VX และ 430TX จะใช้งานร่วมกับซีพียู ตระกูลเพนเทียม เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต ตระกูล 440 ของอิเทลเช่นชิพเซ็ต 440FX, 440LX, 440EX และชิพเซ็ต 440BX จะใช้งานร่วมกับ ซีพียูตระกูลเพนเที่ยมโปร เพนเที่ยมทู และเซลเลอรอน และชุดชิพเซ็ตตระกูล 450 ของอินเทลเช่นชุดชิพเซ็ต 450GX และ 450NX ก็จะใช้งานร่วมกับซีพียูตระกูลเพนเที่ยมทูซีนอนสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ Server หรือ Workstation นอกจากนี้ยังมีชิพเซ็ตจากบริษัทอื่นๆ อีกหลายรุ่นหลายยี่ห้อที่ถูกผลิตออกมา แข่งกับอินเทลเช่นชุดชิพเซ็ต Apollo VP2, Apollo VP3 และ Apollo mVp3 ของ VIA, ชุดชิพเซ็ต Aladin IV+ และ Aladin V ของ ALi และชุดชิพเซ็ต 5597/98, 5581/82 และ 5591/92 ของ SiS สำหรับซีพียูตระกูลเพนเที่ยม เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต Apollo BX และ Apollo Pro ของ VIA, ชุดชิพเซ็ต Aladin Pro II M1621/M1543C ของ ALi และชุดชิพเซ้ต 5601 ของ Sis สำหรับซีพียูตระกูลเพนเที่ยมทู และเซลเลอรอน ซึ่งชิพเซ้ตแต่ละรุ่น แต่ละยี้ห้อนั้นจะมีจุดดีจุดด้อยแตกต่างกันไป
2. หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพ
ไบออส BIOS (Basic Input Output System) หรืออาจเรียกว่าซีมอส (CMOS) เป็นชิพหน่วยความจำชนิด หนึ่งที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ โดยในอดีต ส่วนของชิพรอมไบออสจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ชิพไบออส และชิพซีมอส ซึ่งชิพซีไปออสจะทำหน้าที่ เก็บข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนชิพซีมอสจะทำหน้าที่ เก็บโปรแกรมขนาดเล็ก ที่ใช้ในการบูตระบบ และสามารถเปลี่ยนข้อมูลบางส่วนภายในชิพได้ ชิพไบออสใช้พื้นฐานเทคโนโลยีของรอม ส่วนชิพซีมอสจะใช้เทคโนโลยีของแรม ดังนั้นชิพไบออสจึงไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า ในการเก็บรักษาข้อมูล แต่ชิพซีมอส จะต้องการพลังงานไฟฟ้าในการเก็บรักษาข้อมูลอยตลอดเวลาซึ่งพลังงานไฟฟ้า ก็จะมาจากแบตเตอรี่แบ็คอัพที่อยู่บนเมนบอร์ด (แบตเตอรี่แบ็คอัพจะมีลักษณะเป็นกระป๋องสีฟ้า หรือเป็นลักษณะกลมแบนสีเงิน ซึ่งภายในจะบรรจุแบตเตอรรี่แบบลิเธี่ยมขนาด 3 โวลต์ไว้) แต่ตอ่มาในสมัย ซีพียตระกูล 80386 จึงได้มีการรวมชิพทั้งสองเข้าด้วยกัน และเรียกชื่อว่าชิพรอมไบออสเพียงอย่างเดียว และการที่ชิพรอมไบออสเป็นการรวมกันของชิพไบออส และชิพซีมอสจึงทำให้ข้อมูลบางส่วนที่อยู่ภายใน ชิพรอมไบออส ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูลไว้ แบตเตอรี่แบ็คอัพ จึงยังคงเป็นสิ่งจำเป็นอยู่จนถึง ปัจจุบัน จึงเห็นได้ว่าเมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแล้วจะทำให้ข้อมูลที่คุณเซ็ตไว้ เช่น วันที่ จะหายไปกลายเป็นค่าพื้นฐานจากโรงงาน และก็ต้องทำการเซ้ตใหม่ทุกครั้งที่เปิดเครื่อง เทคโนโลยีรอมไบออส ในอดีต หน่วยความจำรอมชนิดนี้จะเป็นแบบ EPROM (Electrical Programmable Read Only Memory) ซึ่งเป็นชิพหน่วยความจำรอม ที่สามารถบันทึกได้ โดยใช้แรงดันกระแสไฟฟ้าระดับพิเศษ ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า Burst Rom และสามาถลบข้อมูลได้ด้วยแสงอุตราไวโอเล็ต ซึ่งคุณไม่สามารถอัพเกรดข้อมูลลงในไบออสได้ ด้วยตัวเองจึงไม่ค่อยสะดวกต่อการแก้ไขหรืออัพเกรดข้อมูลที่อยู่ในชิพรอมไบออส แต่ต่อมาได้มีการพัฒนา เทคโนโลยชิพรอมขึ้นมาใหม่ ให้เป็นแบบ EEPROM หรือ E2PROM โดยคุณจะสามารถทั้งเขียน และลบข้อมูล ได้ด้วยกระแสไฟฟ้าโดยใช้ซอฟต์แวร์พิเศษ ได้ด้วยตัวเองอย่างง่ายดายดังเช่นที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน
3. หน่วยความจำแคชระดับสอง
หน่วยความจำแคชระดับสองนั้นเป็นอุปกรณ์ ตัวหนึ่งที่ทำหน้าเป็นเสมือนหน่วยความจำ บัฟเฟอร์ให้กับซีพียู โดยใช้หลักการที่ว่า การทำงานร่วมกับอุปกร์ที่ความเร็วสูงกว่า จะทำให้เสียเวลาไปกับการรอคอยให้อุปกรณ์ ที่มีความเร็วต่ำ ทำงานจนเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการทำงานสูงมาก การที่ซีพียูต้องการข้อมูล ซักชุดหนึ่งเพื่อนำไปประมวลผลถ้าไม่มีหน่วยความจำแคช
เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ ประกอบด้วย
1. ชุดชิพเซ็ต
ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บนเมนบอร์ดสามารถทำงานร่วมกันได้ และทำหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำงานได้ตามต้องการ โดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบด้วยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปด้วยชิพ 2 ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI to ISA Bridge
ชิพ System Controller หรือ AGPSET หรือ North Bridge เป็นชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อุปกรณ์หลักๆ ความเร็วสูงชนิดต่างๆ บนเมนบอร์ดที่ประกอบด้วยซีพียู หน่วยความจำแคชระดับสอง (SRAM) หน่วยความจำหลัก (DRAM) ระบบกราฟิกบัสแบบ AGP และระบบบัสแบบ PCI
ชิพ PCI to ISA Bridge หรือ South Bridge จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกันระหว่างระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเร็วในการทำงานต่ำกว่าเช่นระบบบัสแบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำรอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน
ชุดชิพเซ็ตจะมีอยู่ด้วยกันหลายรุ่นหลายยี่ห้อโดยลักษณะการใช้งานจะขึ้นอยู่กับซีพียูที่ใชเป็นหลัก เช่นชุด ชิพเซ็ตตระกูล 430 ของอินเทลเช่นชิพเซ็ต 430FX, 430HX 430VX และ 430TX จะใช้งานร่วมกับซีพียู ตระกูลเพนเทียม เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต ตระกูล 440 ของอิเทลเช่นชิพเซ็ต 440FX, 440LX, 440EX และชิพเซ็ต 440BX จะใช้งานร่วมกับ ซีพียูตระกูลเพนเที่ยมโปร เพนเที่ยมทู และเซลเลอรอน และชุดชิพเซ็ตตระกูล 450 ของอินเทลเช่นชุดชิพเซ็ต 450GX และ 450NX ก็จะใช้งานร่วมกับซีพียูตระกูลเพนเที่ยมทูซีนอนสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ Server หรือ Workstation นอกจากนี้ยังมีชิพเซ็ตจากบริษัทอื่นๆ อีกหลายรุ่นหลายยี่ห้อที่ถูกผลิตออกมา แข่งกับอินเทลเช่นชุดชิพเซ็ต Apollo VP2, Apollo VP3 และ Apollo mVp3 ของ VIA, ชุดชิพเซ็ต Aladin IV+ และ Aladin V ของ ALi และชุดชิพเซ็ต 5597/98, 5581/82 และ 5591/92 ของ SiS สำหรับซีพียูตระกูลเพนเที่ยม เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต Apollo BX และ Apollo Pro ของ VIA, ชุดชิพเซ็ต Aladin Pro II M1621/M1543C ของ ALi และชุดชิพเซ้ต 5601 ของ Sis สำหรับซีพียูตระกูลเพนเที่ยมทู และเซลเลอรอน ซึ่งชิพเซ้ตแต่ละรุ่น แต่ละยี้ห้อนั้นจะมีจุดดีจุดด้อยแตกต่างกันไป
2. หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพ
ไบออส BIOS (Basic Input Output System) หรืออาจเรียกว่าซีมอส (CMOS) เป็นชิพหน่วยความจำชนิด หนึ่งที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ โดยในอดีต ส่วนของชิพรอมไบออสจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ชิพไบออส และชิพซีมอส ซึ่งชิพซีไปออสจะทำหน้าที่ เก็บข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนชิพซีมอสจะทำหน้าที่ เก็บโปรแกรมขนาดเล็ก ที่ใช้ในการบูตระบบ และสามารถเปลี่ยนข้อมูลบางส่วนภายในชิพได้ ชิพไบออสใช้พื้นฐานเทคโนโลยีของรอม ส่วนชิพซีมอสจะใช้เทคโนโลยีของแรม ดังนั้นชิพไบออสจึงไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า ในการเก็บรักษาข้อมูล แต่ชิพซีมอส จะต้องการพลังงานไฟฟ้าในการเก็บรักษาข้อมูลอยตลอดเวลาซึ่งพลังงานไฟฟ้า ก็จะมาจากแบตเตอรี่แบ็คอัพที่อยู่บนเมนบอร์ด (แบตเตอรี่แบ็คอัพจะมีลักษณะเป็นกระป๋องสีฟ้า หรือเป็นลักษณะกลมแบนสีเงิน ซึ่งภายในจะบรรจุแบตเตอรรี่แบบลิเธี่ยมขนาด 3 โวลต์ไว้) แต่ตอ่มาในสมัย ซีพียตระกูล 80386 จึงได้มีการรวมชิพทั้งสองเข้าด้วยกัน และเรียกชื่อว่าชิพรอมไบออสเพียงอย่างเดียว และการที่ชิพรอมไบออสเป็นการรวมกันของชิพไบออส และชิพซีมอสจึงทำให้ข้อมูลบางส่วนที่อยู่ภายใน ชิพรอมไบออส ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูลไว้ แบตเตอรี่แบ็คอัพ จึงยังคงเป็นสิ่งจำเป็นอยู่จนถึง ปัจจุบัน จึงเห็นได้ว่าเมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแล้วจะทำให้ข้อมูลที่คุณเซ็ตไว้ เช่น วันที่ จะหายไปกลายเป็นค่าพื้นฐานจากโรงงาน และก็ต้องทำการเซ้ตใหม่ทุกครั้งที่เปิดเครื่อง เทคโนโลยีรอมไบออส ในอดีต หน่วยความจำรอมชนิดนี้จะเป็นแบบ EPROM (Electrical Programmable Read Only Memory) ซึ่งเป็นชิพหน่วยความจำรอม ที่สามารถบันทึกได้ โดยใช้แรงดันกระแสไฟฟ้าระดับพิเศษ ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า Burst Rom และสามาถลบข้อมูลได้ด้วยแสงอุตราไวโอเล็ต ซึ่งคุณไม่สามารถอัพเกรดข้อมูลลงในไบออสได้ ด้วยตัวเองจึงไม่ค่อยสะดวกต่อการแก้ไขหรืออัพเกรดข้อมูลที่อยู่ในชิพรอมไบออส แต่ต่อมาได้มีการพัฒนา เทคโนโลยชิพรอมขึ้นมาใหม่ ให้เป็นแบบ EEPROM หรือ E2PROM โดยคุณจะสามารถทั้งเขียน และลบข้อมูล ได้ด้วยกระแสไฟฟ้าโดยใช้ซอฟต์แวร์พิเศษ ได้ด้วยตัวเองอย่างง่ายดายดังเช่นที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน
3. หน่วยความจำแคชระดับสอง
หน่วยความจำแคชระดับสองนั้นเป็นอุปกรณ์ ตัวหนึ่งที่ทำหน้าเป็นเสมือนหน่วยความจำ บัฟเฟอร์ให้กับซีพียู โดยใช้หลักการที่ว่า การทำงานร่วมกับอุปกร์ที่ความเร็วสูงกว่า จะทำให้เสียเวลาไปกับการรอคอยให้อุปกรณ์ ที่มีความเร็วต่ำ ทำงานจนเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการทำงานสูงมาก การที่ซีพียูต้องการข้อมูล ซักชุดหนึ่งเพื่อนำไปประมวลผลถ้าไม่มีหน่วยความจำแคช
HUB
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)